หน้าแรก
- รายละเอียด
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 14 กุมภาพันธ์ 2555 18:23
- ฮิต: 10325
1. ธุรกิจรับฝากเงิน
ประเภทเงินฝาก | ระยะเวลาที่คิดดอกเบี้ย | หมายเหตุ |
เงินฝากออมทรัพย์ | - คิดดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง (มี.ค. และ ก.ย.) | - |
เงินฝากออมทรัพย์ พิเศษ | - คิดดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง (มี.ค., มิ.ย., ก.ย., ธ.ค.) | - |
เงินฝากประจำ 6 เดือน | - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 6 เดือน | - หักภาษีดอกเบี้ย ฝากประจำ |
เงินฝากประจำ 12 เดือน | - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 12 เดือน | -หักภาษีดอกเบี้ย ฝากประจำ |
2. ธุรกิจการให้เงินกู้
ประเภทเงินกู้ |
เงื่อนไขในการกู้เงิน | หมายเหตุ |
||||
จำนวนเงินกู้ได้ (บาท) |
ผู้ค้ำประกัน (คน) |
สำรองเงินเดือน (%) |
ทุนเรือนหุ้น (%) |
รายงวดที่ส่ง (งวด) |
||
1. เงินกู้ฉุกเฉิน |
3 เท่าของเงินเดือน |
- |
10% |
ไม่น้อยกว่า 10,000 บาท |
30 |
1) ผู้กู้ต้องเป็นสมาชิก ไม่น้อยกว่า 6 เดือน 2) ผู้กู้ต้องมีทุนเรือนหุ้น ไม่น้อยกว่า 10,000 บาท 3) ส่งชำระได้ 3 งวด สามารถกู้ได้อีก |
2. เงินกู้สามัญ |
2.1 กู้ไม่เกิน 2.2 กู้ไม่เกิน 2.3 กู้ไม่เกิน 2.4 กู้ไม่เกิน |
2 คน
|
15%
|
20% 25% 25% 20% |
120 งวด
|
- ข้อ 2.1-2.4 เมื่อส่งชำระ - พนักงานราชการกู้ได้ |
ประเภทเงินกู้ | เงื่อนไขในการกู้เงิน | สำรอง เงินเดือน |
ระยะเวลา ที่ส่งชำระ |
เอกสาร / หลักฐาน ประกอบการกู้ |
หมายเหตุ |
3. เงินกู้สามัญ เพื่อซื้อสินค้า |
- เป็นการขอกู้เพื่อซื้อ สินค้า เช่น 1) รถจักรยานยนต์ 2) รถจักรยาน 3) คอมพิวเตอร์ 4) เครื่องใช้ไฟฟ้า 5) กล้องดิจิตอล - ใช้คนค้ำประกัน 1 คน - เงินต้นและดอกเบี้ย จะเท่ากันทุกเดือน (แล้วแต่สินค้าที่ซื้อ) - สหกรณ์จะเริ่มหัก เงินเดือนงวดแรกคือ เดือนที่รับสินค้า |
15% |
12-24 |
- ทำสัญญาเงินกู้สามัญ เอกสารเหมือนการ ขอกู้ทั่วไป |
|
4. กู้ทุน เรือนหุ้น |
กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 90 ของเงินหุ้น |
90% ของหุ้น |
- |
- |
- มีหุ้นเป็นหลัก ประกันไม่ต้อง มีคนค้ำประกัน |
5. เงินกู้สามัญ พิเศษ 5.1 สินเชื่อเพื่อ การเคหะ วงเงินกู้ไม่เกิน 15,000,000 บาท (สิบห้าล้านบาท) |
1) ซื้อบ้านพร้อมที่ดิน ขั้นตอนการกู้ |
12% บวก เงิน ประจำ ตำแหน่ง |
360 งวด หรือ ตามอายุ ราชการ ที่เหลือ บวกด้วย 5 ปี |
1) สำเนาบัตรประชาชน/ บัตรข้าราชการของผู้กู้/ คู่สมรส 2) สำเนาทะเบียนบ้านของผู้กู้/คู่สมรส 3) สำเนาทะเบียนสมรส ใบหย่า ใบเปลี่ยนชื่อ/สกุล (ถ้ามี) 4) ใบแจ้งยอดเงินเดือน (เดือนสุดท้ายก่อนยื่นกู้) 5) สำเนาเอกสารสิทธิที่ดิน (โฉนดที่ดิน, นส.3ก, เอกสารสิทธิ์ห้องชุด ฯลฯ) ขนาดเท่าต้นฉบับ 6) ผังโครงการ, แผ่นพับ โบชัวร์ของโครงการ แผนที่ที่ตั้งที่ดิน โดยสังเขป 7) หนังสือรับรองราคา ประเมินจากบริษัทที่ สหกรณ์กำหนด กรณีสร้างบ้านมีเอกสาร เพิ่มดังนี้ - ใบอนุญาตปลูกสร้าง อาคารจากราชการ - สำเนาแบบแปลนการ ก่อสร้าง (พิมพ์เขียว) กรณีไถ่ถอนจำนองมีเอกสาร เพิ่มดังนี้ 1) สัญญากู้เงินจากสถาบัน การเงินนั้น 2) หลักฐานการผ่อนชำระ หนี้และยอดหนี้คงเหลือ 3) หลักฐานการเป็น เจ้าของกรรมสิทธิ์ใน อาคาร เช่น สัญญาการ ซื้อขาย (ท.ด.13) คำขอ เลขที่บ้าน |
- การสำรอง เงินเดือนประเมิน รายได้ 6 เดือน ย้อนหลัง - อัตราดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม อาจเปลี่ยนแปลง ได้ตามประกาศ ของสหกรณ์ - การคิดระยะเวลา ในการผ่อนส่ง คำนวณจากอายุ ราชการที่เหลือ + 5 ปี - ทำประกันชีวิต และประกัน อัคคีภัยกับบริษัท ที่สหกรณ์กำหนด |
5.2 สินเชื่อ- รถยนต์ วงเงินกู้ไม่เกิน 2,000,000 บาท (สองล้านบาท) |
1) เป็นสมาชิกสามัญ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน 2) ใช้สมาชิกค้ำประกัน 2 คน 3) ทำประกันภัยรถยนต์ ชั้น 1 โดยสหกรณ์เป็น ผู้รับผลประโยชน์ 2 ปี 4) คู่มือทะเบียนรถยนต์เป็น ชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ และเก็บไว้ที่สหกรณ์ 2 ปี เมื่อสมาชิกชำระ เงินกู้ครบจะโอนกรรมสิทธิ์ มาเป็นของสมาชิก 5) ทำประกันเงินกู้ (กรมธรรม์ประกัน 8 ปี) 6) เปิดสมุดคู่ฝาก |
12% (เงินเดือน +เงิน ประจำ ตำแหน่ง) |
100 งวด |
1) ใบกู้สามัญพิเศษระบุ เพื่อซื้อรถยนต์ 2) สำเนาสลิปเงินเดือน (เดือนล่าสุด) 3) สำเนาบัตรประจำตัว ผู้กู้และคู่สมรส 4) สำเนาทะเบียนสมรส/ สำเนาใบหย่า/สำเนา ใบมรณบัตร |
- การทำประกันภัย รถยนต์ทำกับ บริษัทใดก็ได้ - ทำประกันเงินกู้ กับบริษัทที่ สหกรณ์กำหนด |
5.3 สินเชื่อ รถยนต์ มือสอง |
- เงื่อนไขทุกอย่าง เช่นเดียว กันกับซื้อรถยนต์ใหม่ มีเพิ่มเติม ดังนี้ 1) สมาชิกต้องเข้าประมูล รถยนต์มือสองกับบริษัท ที่เคยได้จัดประมูลรถยนต์ มือสอง เช่น ทิสโก้ ธนชาต โตโยต้าดีเยี่ยม และทราบราคา 2) สมาชิกจะกู้สินเชื่อนี้ได้ สมาชิกต้องมีความสามารถ ในการผ่อนชำระ |
12% |
100 |
- หลักฐานเช่นเดียวกัน |
- รายละเอียด
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 14 กุมภาพันธ์ 2555 18:14
- ฮิต: 6504
1. การประชุมสามัญ / การประชุมใหญ่
สหกรณ์จะมีการประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 1 ครั้ง หลังสิ้นปีทางบัญชี ซึ่งของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์กำหนดตาม ปีงบประมาณเหมือนโรงพยาบาล ซึ่งจะมีการจัดประชุมใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน หลังสิ้นปีทางบัญชีประมาณเดือนตุลาคม ซึ่งในการประชุม
มีขั้นตอนและกิจกรรมดังนี้
1.1 สหกรณ์ออมทรัพย์จะมีการกำหนดวันและประกาศแจ้งให้ สมาชิกทราบก่อนการประชุมอย่างน้อย 7 วัน
1.2 การประชุมต้องมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของสมาชิกทั้งหมดหรือไม่น้อยกว่า 100 คน จึงจะเปิดการประชุมได้
1.3 ในการประชุมสหกรณ์จะมีการรายงานผลการดำเนินงาน ตลอดทั้งปีของสหกรณ์ให้สมาชิกทราบและเพื่อให้สมาชิกพิจารณาในเรื่อง ต่อไปนี้
1.3.1 กำหนดบำเหน็จค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ กรรมการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบบัญชีทั้งภายใน-ภายนอก หรืออื่นๆ
1.3.2 พิจารณา อนุมัติ งบดุลและจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี
1.3.3 พิจารณากำหนดวงเงินที่สหกรณ์อาจกู้ยืมหรือค้ำประกัน
1.3.4 พิจารณาแก้ไข เพิ่มเติม ข้อบังคับและระเบียบของ สหกรณ์
1.3.5 พิจารณาแผนงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีของ สหกรณ์ออมทรัพย์ฯ กิจกรรมสหกรณ์ที่สมาชิกควรเข้ามามีส่วนร่วม ในการดำเนินกิจกรรม คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี จำกัด 18 1.3.6 กำหนดค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พักและค่าเบี้ย ประชุมของกรรมการดำเนินการ กรรมการอื่นๆ และที่ปรึกษาใหม่ใหม่ตาม วาระกรรมการ
1.3.7 รับทราบการดำเนินงานของสันนิบาตสหกรณ์ และ ชุมนุมสหกรณ์ที่สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์เป็นสมาชิก 1.3.8 กำหนดรูปแบบ / กิจกรรมซึ่งสหกรณ์ฯ คิดจะทำเพื่อ เกื้อหนุนหรือเป็นสวัสดิการแก่สมาชิก
1.4 สมาชิกจะต้องเลือกคณะกรรมการดำเนินการใหม่ (ตามวาระของกรรมการในแต่ละปี) ซึ่งกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันประชุมใหญ่ ดังนั้นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ทุกคนพึงตระหนักและควรเข้าร่วม ประชุมสามัญ
2. การเข้าร่วมประชุมสัมมนา / วิชาการเรื่องของสหกรณ์ในด้านต่างๆ
3. การเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ สำคัญอย่างไร
ในการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ สมาชิกทุกคนไม่สามารถ ดำเนินการเองได้ จึงมีความจำเป็นในการเลือกคณะกรรมการเข้ามาดำเนินการ แทนเพื่อ
3.1 ปกป้อง พิทักษ์สิทธิ และผลประโยชน์ของสมาชิกและสหกรณ์ฯ
3.2 ดำเนินการตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ฯ แทนสมาชิก
3.3 กำหนดแผนงานดำเนินงานเพื่อสร้างรายได้ กำไรให้สหกรณ์ฯ มีความมั่นคงและก้าวหน
- รายละเอียด
- เผยแพร่เมื่อ วันจันทร์, 13 กุมภาพันธ์ 2555 21:57
- ฮิต: 7002
1. ลาออกจากสหกรณ์ และได้รับอนุญาตแล้ว
2. ถูกให้ออกจากสมาชิกสหกรณ์
3. ถูกให้ออกจากงานประจำ
4. เป็นคนไร้ความสามารถ
5. ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย
6. ตาย
การลาออกจากสหกรณ์
สมาชิกจะลาออกจากสหกรณ์ได้ต่อเมื่อ
1. ไม่มีภาระหนี้สินอยู่กับสหกรณ์ และต้องไม่ติดเป็นผู้ค้ำประกัน สมาชิกเท่าใด
2. ต้องยื่นแสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการดำเนินการ
3. จะถือว่าออกจากสหกรณ์ได้ต่อเมื่อคณะกรรมการดำเนินการ พิจารณาอนุมัติแล้วเท่านั้น
4. ผู้ที่ขอลาออกจากการเป็นสมาชิก จะต้องคงหุ้นของตนเองไว้ จนถึงสิ้นปีบัญชี จึงจะได้เงินปันผลสำหรับปีนั้น แต่ถ้าถอนหุ้นก่อนสิ้นปีบัญชี จะไม่ได้รับเงินปันผล
การให้ออกจากสหกรณ์
สมาชิกอาจถูกให้ออกจากสหกรณ์เพราะเหตุอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
1. ขาดการชำระค่าหุ้นรายเดือนถึงสามงวดติดต่อกัน หรือขาดชำระ รวมถึงหกเดือน เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการดำเนินการ
2. นำเงินกู้ไปใช้ผิดความมุ่งหมายที่สหกรณ์อนุมัติไป
3. มีเหตุบกพร่องตามหลักประกันแล้วไม่แก้ไขเหตุขัดข้องดังกล่าว ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการดำเนินการกำหนด
4. ขาดส่งเงินชำระหนี้ไม่ว่าเงินต้น หรือดอกเบี้ยติดต่อกันเป็นเวลา สองเดือน หรือผิดนัดการส่งเงินงวดชำระหนี้ดังกล่าวนั้นถึงสามคราวสำหรับ เงินกู้รายหนึ่งๆ
- รายละเอียด
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 14 กุมภาพันธ์ 2555 11:20
- ฮิต: 5431
1. ธุรกิจรับฝากเงิน
ประเภทเงินฝาก | ระยะเวลาที่คิดดอกเบี้ย | หมายเหตุ |
เงินฝากออมทรัพย์ | - คิดดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง (มี.ค. และ ก.ย.) | - |
เงินฝากออมทรัพย์ พิเศษ | - คิดดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง (มี.ค., มิ.ย., ก.ย., ธ.ค.) | - |
เงินฝากประจำ 6 เดือน | - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 6 เดือน | - หักภาษีดอกเบี้ย ฝากประจำ |
เงินฝากประจำ 12 เดือน | - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 12 เดือน | -หักภาษีดอกเบี้ย |
2. ธุรกิจการให้เงินกู้
ประเภทเงินกู้ | เงื่อนไขในการกู้เงิน |
หมายเหตุ | ||||
จำนวนเงินกู้ได้ (บาท) |
ผู้ค้ำประกัน (คน) |
สำรองเงินเดือน (%) |
ทุนเรือนหุ้น (%) |
รายงวดที่ส่ง (งวด) | ||
- รายละเอียด
- เผยแพร่เมื่อ วันจันทร์, 13 กุมภาพันธ์ 2555 11:04
- ฮิต: 7669
ประเภทของสวัสดิการ | กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับสวัสดิการ | เป้าหมายที่ได้รับสวัสดิการ | จำนวนเงิน |
1. ทุนการศึกษาบุตร | - ผู้ขอรับทุนการศึกษาบุตร ต้องเป็นสมาชิก ไม่น้อยกว่า 1 ปี ในวัน ประกาศรับสมัครขอรับทุน - สมาชิกหนึ่งคนสามารถ ขอรับทุนได้ 1 ทุน - กรณีที่บิดา มารดา เป็นสมาชิก ให้ได้รับทุน เพียง 1 ทุน - บุตรที่ขอรับทุนต้อง ไม่ใช่บุตรของสมาชิก ที่ได้รับทุนติดต่อกันทุกปี หลักฐานการขอรับทุน 1) สำเนาบัตรประชาชน ของสมาชิก 2) หลักฐานการศึกษาของ บุตรในปีที่ขอรับทุน 3) สูติบัตรหรือสำเนา ทะเบียนบ้านที่มีชื่อ บุตรสมาชิก 4) กรณีชื่อ-สกุล ไม่ตรงกัน ให้แสดงหนังสือสำคัญ ในการเปลี่ยนชื่อ-สกุล |
- บุตรของสมาชิกสามัญ/ สมทบที่กำลังศึกษาอยู่ อายุไม่เกิน 30 ปี ในวัน รับสมัคร 1) ประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-ป.3) 2) ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-ป.6) 3) มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) 4) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6 / เทียบเท่า) 5) อุดมศึกษา |
- ตามมติของ ที่ประชุม ในแต่ละปี |
2. สวัสดิการเกษียณ อายุราชการหรือ ลาออกจาก ราชการ |
- สมาชิกต่ำกว่า 5 ปี ได้รับเงิน 1,000 บาท - สมาชิกตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ได้รับเงิน 1,000 บาท/ปี - สมาชิกสมทบได้รับเงิน ช่วยเหลือตามระเบียบนี้ จำนวนครึ่งหนึ่ง - ผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสหกรณ์ ได้รับเงิน 500 บาท |
- สมาชิกสามัญ/สมทบ - จนท.โรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงค์ / วพพ.สรรพสิทธิประสงค์ ที่เกษียณอายุราชการ/ ลาออกจากราชการในปีนั้น |
- ตามระยะเวลา ที่เป็นสมาชิก |
3. สวัสดิการสมาชิก ที่เป็นข้าราชการ บำนาญและที่ เกษียณอายุราชการ ที่ยังเป็นสมาชิก ออมทรัพย์ (หรือสวัสดิการ ค่ายังชีพ) |
- คิดตามเกณฑ์อายุ มีการมอบทุนทุกปีในเดือน ธันวาคม 1) อายุ 65 ปีบริบูรณ์ได้รับ 5,000 บาท 2) อายุ 70 ปีบริบูรณ์ได้รับ 10,000 บาท 3) อายุ 75 ปีบริบูรณ์ได้รับ 15,000 บาท 4) อายุ 80 ปีบริบูรณ์ได้รับ 20,000 บาท |
- สมาชิกสามัญ/สมทบที่ เป็นข้าราชการบำนาญ หรือที่เกษียณอายุ ราชการ |
- ตามเกณฑ์อายุ |
4. สวัสดิการช่วยเหลือ สมาชิกถึงแก่กรรม |
- เมื่อสมาชิกเสียชีวิต สหกรณ์จ่ายสวัสดิการแก่ ญาติสายตรง หรือบุคคล ที่สมาชิกแจ้งไว้ ตามระยะ เวลาการเป็นสมาชิก 1) ตั้งแต่ 6 เดือน-1 ปีได้รับ 1,000 บาท 2) สมาชิก 1 ปีขึ้นไปได้รับ จำนวน 10,000 บาท/ปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท เอกสารที่นำมาขอรับสวัสดิการ 1) สำเนาใบมรณบัตร 2) สำเนาทะเบียนสมรส 3) สำเนาบัตรประจำตัว ประชาชน(ผู้ถึงแก่กรรม) 4) สำเนาทะเบียนบ้าน 5) สำเนาบัตรประชาชน และทะเบียนบ้าน ผู้รับผลประโยชน์ - สมาชิกสมทบได้รับเงิน ช่วยเหลือตามระเบียบนี้ จำนวนครึ่งหนึ่ง |
- สมาชิกสามัญ/สมทบ | - ตามระยะเวลา
ที่เป็นสมาชิก |
5. เงินสงเคราะห์
บำเพ็ญกุศลศพ |
1) ผู้เสียชีวิตเป็นสมาชิก
ได้รับ 25,000 บาท |
- สมาชิกสามัญ/สมาชิก
สมทบ |
- ตามเกณฑ์อายุ |
6. สวัสดิการ
การทัศนศึกษา |
- สมาชิกสามัญ/สมาชิกสมทบ
ที่ไม่เคยไปจะได้ส่วนลด |
- สมาชิกสามัญ/สมาชิกสมทบ
|
- ตามเกณฑ์ที่
สหกรณ์กำหนด - ตามเกณฑ์ที่ |